เคยมีคนบอกกับเราว่า เกษตรอินทรีย์เป็นเพียงเรื่องฉาบฉวย เหมือนแฟชั่น ไม่นานก็คงหายไป นั่นเป็นเรื่องของเขา เพราะวันนี้เราได้มาสัมผัสวิถีของคนที่ทำเกษตรอินทรีย์จริงๆ ชาวบ้านที่ prefer การกินผักอินทรีย์จริงๆ เป็นของจริงที่มีให้เห็นแล้วที่บ้านนาถ่อน นครพนม
"สมัยก่อน การเกษตรในบ้านนาถ่อนจะมีคนมาจ้างปลูกและรับซื้
นำไปสู่การทำเกษตรแบบอินทรีย์
"เราต้องเริ่มจากตัวเรา ทำให้เขาเห็นว่าเราดีขึ้นจริง เขาถึงจะเปลี่ยนตาม เพราะการเปลี่ยนคนมันไม่ง่าย "
แม่พรธิภา หัวหน้ากลุ่มเกษตรอินทรีย์ บ้านนาถ่อน
ชุมชนบ้านนาถ่อน เริ่มเข้าสู่สังคมเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2552 จนปัจจุบัน มีหลายครัวเรือนเข้าร่วม แม้จะยังไม่ใช่ทั้งหมดแต่ก็สามารถขยายเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ที่แข็งแรง คนในชุมชนมีองค์ความรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ มีระบบการตรวจฟาร์มอินทรีย์โดยคนในเครือข่าย มีศูนย์การเรียนรู้การเพิ่มผลผลิต
ที่บ้านนาถ่อนทำการเกษตรแบบอินทรีย์เพื่อการบริโภค เมื่อเหลือจากการบริโภคจึงนำมาขาย เพราะการบริโภคเองนี่แหละ ทำให้พ่อๆแม่ๆหันมาใส่ใจต่อการเกษตรแบบอินทรีย์มากขึ้น เพราะนอกจากจะปลอดภัยต่อตัวเองและครอบครัวแล้ว ยังลดค่าใช้จ่ายจากปุ๋ยเคมีและยาฆ่าแมลง แถมผักอินทรีย์ยังขายได้ราคาดีกว่าเห็นๆ
ปัจจุบันทางกลุ่มมีการร่วมกันทำ"นาแปลงใหญ่" เพื่อได้รู้ข้อมูลแปลงปลูก ข้อมูลเกษตรกร และการตลาด โดยมีเกษตรอำเภอเป็นเก็บข้อมูลไว้ แล้วมีบริษัทเข้ามาซื้อ(บริษัทรู้
พี่ลำดวน เกษตรกรที่พลิกผืนดิน 13 ไร่ให้เป็นเกษตรอินทรีย์
พี่ลำดวนเคยทำงานที่กรุงเทพฯกว่า 30 ปี หลังจากนั้นก็ผันตัวมาทำเกษตรกรอินทรีย์ได้ 6 ปี บนพื้นที่ 13 ไร่ ปลูกข้าวหอมมะลิ 105 ข้าวเหนียวก ข.6 (ปลูกเอาไว้กินเอง) ปลูกผักสวนครัว เลี้ยงจิ้งหรีด และผลไม้ตามฤดูกาล ที่นี่ทำนาข้าวโดยวิธี "นาโยน" เป็นเทคนิคการปลูกข้าวที่ช่วยทุ่นแรง ลดกำลังคน เพิ่ม productivity เลี้ยงจิ้งหรีดเป็นแหล่งโปรตีนคุณภา
"ทุกวันนี้ มีความสุข ช่วยเหลือตัวเองได้ ช่วยคนอื่นได้
ถึงไม่ได้ร่ำรวยเงินทองแต่เรามีของกินที่ดี จากดินที่มีคุณภาพ"
นอกจากนี้ พี่ลำดวนยังได้นำผลผลิตจากสวน อย่างมะกรูดและตะไคร้มาทำเป็
ครั้งหนึ่งในชีวิตเคยใฝ่ฝันว่าอยากลองทำนา และอยากทำนาข้าวอินทรีย์ซะด้วย
วันนี้สมหวังแล้วค่ะ พ่อๆแม่ๆที่บ้านนาถ่อนสอนการทำนาอินทรีย์ทุกขั้นตอน (แถมได้ลองไถนาด้วยน้องควายด้วยนะ)
การเตรียมดิน ทำโดยการไถ เพื่อทำให้ดินอ่อนพร้อมต่อการเติบโตข
การถอนกล้า การดึงกล้าที่ปลูกไว้มามัดกล้าเพื่อเอาไปปักลงดินต่อไป ปลูกได้ 1 เดือนก็ถอนเอามาปักดำได้
การดำนา จะต้องใช้ 3 นิ้วจับต้นกล้าแล้วปักลงดิน เรียงเป็นแถว แต่ละกอห่างกัน 25-30 ซ.ม.เพื่อเว้นช่องว่างให้รากเติ
พันธุ์ข้าวที่จะปลูกวันนี้เป็นไ
กิจกรรมของวันนี้ยังไม่หมดแค่นี้นะคะ ยังมีการทอดแหหาปลา เก็บผักจากท้องนา และ Cooking Class จากผักพื้นบ้านด้วย ทั้งแกงหน่อไม้บังฮวกใส่ใบย่านางและผักพื้นบ้านที่ปลูกแบบออแกนิก หม้อน้อยหรือเจลลี่คอโรฟีลที่ได้จากใบหม้อน้อย ปรุงแบบเครื่องคาวใส่ปลาดุกย่างแกะ เป็นรสชาติใหม่ที่ยังไม่เคยได้ลิ้มลองที่ไหนมาก่อน
วัตถุดิบสำหรับแกงหน่อไม้
วัตถุดิบสำหรับหม้อน้อย
ระหว่างทานอาหารอย่างเอร็ดอร่อยก็ได้กลิ่นควันไฟลอยมา แม่ๆบอกว่ามันเขากำลังทำ "ไบโอชา" มันคืออะไร ด้านล่างนี้มีคำตอบค่ะ
Biocha(coal)
คือการนำเอากิ่งไม้ หรือไม้ไผ้ไปเผาในระบบปิดความร้อนประมาณ400-500องศาเซลเซียสเป็นเวลา 3-4 ชั่วโมง แล้วให้ความร้อนระอุเผาไหม้ตัวเองต่อ ด้วยวิธีนี้มันมีรูพรุ
ก่อนเผา
หลังเผา
ถ้าเรานำไบโอชาไปบดผสมกับดิน มันจะดูดสารพิษ สารอาหารและ น้ำ แต่ไม่ปล่อยสารพิษลงดินอีก
ตอนผสมไบโอชากับดิน จะใส่เชื้อเห็ดลงไปในการผสม หลังจากนั่นประมาณ 3 ปี เราก็จะมีเห็ดกิน ยิงปืนนัดเดียวได้นกสองตัวมันเป็นแบบนี้นี่เอง
หลังจากกินข้าวอิ่มแล้ว พ่อๆก็พามาปลูกยางนาโดยใส่ไบโอชาเข้าไปในหลุมปลูกด้วย ยางนาเป็นต้นไม้สูง สามารถมีอายุยืนถึง 1,000 ปี ด้วยความสูงมันจึงช่วยบังแดดให้คน และช่วยทำให้ต้นไม้ด้านใต้ เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วเพื่อจะแข่ง
ยางนาเอ๋ย ขอให้เจ้าฝ่าฝันอุปสรรคและเติบโตได้เป็นไม้ใหญ่อย่างที่ตั้งใจ แล้วจะกลับมาเยี่ยมหาใหม่นะเจ้ายางนา
Pasiree Parichani
วันจันทร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 เวลา 01.40 น.